รับข่าวสาร ยกเลิกรับข่าวสาร


HR นายจ้าง รับมือ กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง เชื่อมโยง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แก้ไข ระเบียบข้อบังคับการทำงาน และ การบริหารงานบุคคล (HRM)

 
  Employee Welfare Fund & HR Planning กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง + วางแผนบริหารงานบุคคล อังคารที่ 22 กรกฎาคม 2568 เวลา 09.00 - 16.30 สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM วิทยากร กระทรวงแรงงาน ผู้เชี่ยวชาญกฎหมาย กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง เข้าชม ( 6 ) วันที่ 09/07/2025
      HR วางแผนรับมือ ปัญหาการตีความ กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง ที่น่าสนใจ เช่น ลูกจ้างทดลองงาน เกษียณอายุ / สัญญาจ้างมีกำหนดระยะเวลา / ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ฯลฯ
 HR วางแผนเปลี่ยน ค่าจ้าง เป็น สวัสดิการ รับมือ กฎหมาย กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง : กรณีศึกษาต่างๆน่าสนใจ
 ฐานการคำนวณเงินสะสม และเงินสมทบ / หลักเกณฑ์และวิธีการนำส่งเงินสมทบ เงินสะสม กองทุนสงเคราะห์
 HR วางแผน “กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง” รับมือ บริษัทที่มี กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)
 HR Planning “สะสมวันลากิจ” เพื่อไปใช้ในปีถัดไป / สะสมวันลากิจ / มาสายบังคับเป็นลากิจ / กำหนดเกณฑ์
 HR วางแผน “สะสมวันหยุดพักผ่อนประจำปี / เลือกรับเงินทดแทน” “วันหยุดพักผ่อนประจำปีที่ไม่อาจสะสมไปใช้ในปีถัดไป” / กำหนดให้ลูกจ้างหยุดพักผ่อนประจำปีตามวันที่บริษัทกำ หนด ฯลฯ
 HR วางแผนรับมือ “ลาป่วย” - ลาป่วยเท็จ / ลาป่วยบ่อยครั้ง / ลาป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น ไต / ลาป่วยพร้อมกัน
 HR วางแผน หักค่าจ้าง / กยศ. /กรมบังคับคดี / เปลี่ยนรูปแบบการหักค่าจ้าง เป็น“หนังสือรับสภาพหนี้” ฯลฯล
 HR วางแผน เลิกจ้าง ลูกจ้างผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารที่มี EQ ต่ำ / ทำผลงานไม่ดี / ทุจริต / ไม่สนองบริษัท
 HR วางแผน รับมือ “การโยกย้าย” เปลี่ยนแปลงตำแหน่ง / เปลี่ยนแปลงสถานประกอบการ / ลดตำแหน่ง
 
 
 
 
  Tax Planning, Avoidance or Evasion : The Good, the bad or the ugly! คดีการวางแผนภาษี หลีกเลี่ยงภาษี หรือหนีภาษี ผลกระทบ ESG, Tax Governance, Tax Policy บริษัทจดทะเบียนฯ พฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม 2568 เวลา 09.00 - 16.30 สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 10 ) วันที่ 07/07/2025
      Update คดีการวางแผนภาษี ตาม คำพิพากษาศาลฎีกา คำพิพากษาศาลภาษีอากรกลาง : CIT, VAT, SBT, Withholding Tax, Stamp Duty, DTA ที่ RD ศาล “ยอมรับ” หรือ “ไม่ยอมรับ”
 คำพิพากษาฎีกาวางหลัก “ความผิดอาญาในคดีการหลีกเลี่ยงภาษีสรรพากร” : คดีที่เป็นประโยชน์ต่อ Taxpayer
 วางแผนภาษีที่ผิดพลาด การเป็น “ตัวแทน” นิติบุคคลต่างประเทศ ม.76 ทวิ Law Firm ชั้นนำ แพ้คดีในชั้นศาล
 คดีการวางแผนภาษี “M&A ซื้อขายกิจการ ปรับโครงสร้างกิจการ” ที่ RD + ศาล ไม่ยอมรับ
 การวางแผนภาษีโดยการทำสัญญา (Tax Planning for Drafting Contracts) : กรณีศึกษาที่น่าสนใจ
 หลีกเลี่ยงภาษี (Tax Avoidance) โดยการเพิ่มทุนและลดทุน คดีครึกโครมที่ศาล + RD ไม่ยอมรับ
 วางแผน “ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง” ที่ “ท้องถิ่น + ศาลภาษี” ไม่ยอมรับ : ผลกระทบ Wealth ทั่วประเทศ
 การวางแผนภาษี “ส่งเสริมการขาย” (Sales Promotion) ที่ศาลฯ ยอมรับ (แต่ RD ไม่อยากยอมรับ)
 Tax Planning “กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน” (Thai ESGX) หลังผู้เสียภาษีชนะคดีภาษี LTF ในชั้นศาลภาษี
 การวางแผนด้วยการ “ขอคืนภาษี” (Tax Refund) และการโต้แย้งคำสั่งไม่คืนภาษี : กรณีศึกษาที่น่าสนใจ
 การวางแผนภาษี ธุรกรรมบริษัทในเครือ / กลุ่มบริษัท Transfer Pricing ที่ RD + ศาลไม่ยอมรับ
 วางแผนภาษีโดยใช้ พรบ.บัญชี / กม. DBD / พรบ.ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ / MAP / กฎหมายแพ่ง / ปกครอง ฯลฯ
 
 
  HR New Issues and Contract Change Management HR รับมือ กม.ใหม่ / แก้ไข ระเบียบ สัญญา นโยบาย ตามฎีกาใหม่ ศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม 2568 เวลา 09.00 - 16.30 สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 12 ) วันที่ 07/07/2025
      แก้ไข กม.ขยาย “ลาคลอด” / กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง / Provident Fund : ประเด็นใหม่ที่น่าสนใจสำหรับ HR
 HR รับมือ ร่าง พรบ.ขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคล (Anti-Discrimination Law) : ผลกระทบ HRM
 HR รับมือ แก้ไข กม.อาญา “การกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์” (Cyber Bullying) “การติดตามแบบคุกคาม” (Online Stalking) : ข้อแนะนำ HR นายจ้าง เตรียมรับมือแบบรอบด้าน
 วินัยและการลงโทษทางวินัย / เลิกจ้าง / ค่าชดเชย / หนังสือเตือน / หนังสือเลิกจ้าง : ประเด็นใหม่น่าสนใจ HR
 ข้อแนะนำ จัดเตรียม แก้ไข ปรับปรุง สัญญาจ้าง ระเบียบ ประกาศ คำสั่งของนายจ้าง ทั้งระบบ ตามแนวคำพิพากษาฎีกาคดีแรงงาน (Supreme Court Decisions) พรบ.คุ้มครองข้อมูลฯ (PDPA) มาตรการทางองค์กร
 HR แก้ไข ระเบียบฯ เชื่อมโยง ลาป่วย / ลากิจ / วันหยุดพักผ่อนประจำปี / เลิกจ้าง ตามแนวฎีกาใหม่
 Update มติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เชื่อมโยง การบริหารงานบุคคลของภาคเอกชน (HRM) ที่ถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน (Human Rights Violation) เช่น Recruitment, การลงโทษทางวินัย ฯลฯ
 หนังสือยินยอมให้หักค่าจ้าง / ระเบียบการลดค่าจ้าง / ระเบียบการโยกย้ายพนักงาน / Standby Policy ฯลฯ
 
 
  Mutual Agreement Procedure (“MAP”) and International Tax Dispute ใช้ MAP โต้แย้ง กรมสรรพากรไทย และต่างประเทศ พุธที่ 16 กรกฎาคม 2568 เวลา 09.00 - 12.00 สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM วิทยากร กรมสรรพากร (RD)ผู้เชี่ยวชาญอนุสัญญาภาษีซ้อน และ Mutual Agreement Procedure เข้าชม ( 40 ) วันที่ 03/07/2025
      เทคนิคการใช้ MAP เพื่อระงับข้อพิพาทภาษี กับกรมสรรพากรไทย และต่างประเทศ : การ SAVE ค่าภาษี
 ข้อแนะนำการร่าง (Drafting) ข้อตกลง MAP เพื่อยื่นต่อ RD ไทย : เนื้อหา รายละเอียด ข้อเท็จจริง เอกสารอ้างอิง
 กรณีศึกษา Expat ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย เกี่ยวกับ “การหักลดหย่อน” (Tax Allowances) : ประเด็นน่าสนใจ
 กรณีศึกษา ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย เกี่ยวกับ “การขอคืนภาษี” (Tax Refund) หรือการปฎิเสธการคืนภาษี
 ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย “ค่าสิทธิ” (Royalty) ภาษีซ้อน ภงด.54 เชื่อมโยง ภพ.36 (VAT) : Case Study
 วางยุทธศาสตร์โต้แย้ง RD ไทย โดยใช้ MAP ควบคู่กับ “ช่องทางอื่นๆ” เช่น ศาลภาษี / การอุทธรณ์ / ศาลปกครอง
 กรณีศึกษา ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย “เครดิตภาษีเงินปันผล” ของผู้บริหารชาวอเมริกัน
 ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย เกี่ยวกับการใช้ “กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศ” เพื่อลดอัตราภาษี
 ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย กรณีไม่ให้ใช้สิทธิตาม “ความตกลงระหว่างประเทศที่มิใช่ภาษี” (Non-Tax Treaty)
 ใช้ MAP โต้แย้ง RD อินเดีย จัดเก็บภาษีที่ไม่สอดคล้องกับ อนุสัญญาภาษีซ้อน : นักลงทุนไทยในอินเดียชนะคดี
 ใช้ MAP โต้แย้ง RD ไทย ประเด็น “การคุ้มครองสิทธินักลงทุนญี่ปุ่น (Taxpayer) ในประเทศไทย” ภายใต้ JTEPA (Investment Chapter) / คุ้มครองนักลงทุนไทยใน “กัมพูชา” ภายใต้ความตกลง ACIA
 บทบาท ผู้จัดการฝ่ายบัญชี / CFO / ฝ่ายกฎหมาย ในการยื่น MAP ต่อกรมสรรพากรไทย-ต่างประเทศ
 
 
  HR Digital Transformation : Labor Law Issues การเปลี่ยนแปลงดิจิทัลเพื่อการบริหารงานบุคคล : กฎหมายแรงงาน เสาร์ที่ 19 กรกฎาคม 2568 เวลา 09.00– 12.00 สัมมนา ONLINE ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 19 ) วันที่ 30/06/2025
      HR ใช้ประโยชน์ มาตรการเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงเป็นดิจิทัล (HR Digital Transformation)
 WFH / Hybrid Working / Remote Work กับการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและดิจิทัล : Legal Risk
 ตัวอย่างการนำ HR Digital Transformation มาใช้เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ประเด็นที่ HR พึงระวัง
 “พยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์” (Digital Evidence) : สัญญาจ้าง / วินัย ลงโทษทางวินัย / เลิกจ้าง
 HR Digital Transformation กับการบริหารความเสี่ยงตาม พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
 ค่าชดเชยพิเศษ (Special Severance Pay) กรณีการนำเทคโนโลยีมาใช้ : ปัญหาที่น่าสนใจสำหรับ HR
 การตรวจสอบการทำงานของลูกจ้าง (Employee Monitoring) ในช่วง Digital Transformation
 สัญญาจ้าง / ระเบียบข้อบังคับ / นโยบาย นายจ้าง : HR ทำให้สอดคล้องกับยุค Digital Transformation
 AI ปัญญาประดิษฐ์ ใช้เพื่อ Digital Transformation : ลิขสิทธิ์, สัญญาจ้าง, ควบคุมลูกจ้าง, เลิกจ้าง, ค่าชดเชย
 การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ : HRM + Digital Transformation
 Update ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เกี่ยวกับ Digital Transformation : HRM + Legal Risk
 บริหารการ “ลาออก” “เลิกจ้าง ในยุค Digital : บอกถอน / ลาออกผิดระเบียบ / หนังสือเตือนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
 
  Hospital and Doctor Tax Hot Issues ประเด็นร้อน ภาษีโรงพยาบาล แพทย์ กม.ใหม่ คดีภาษีที่มีโทษอาญา / ตรวจสอบภาษี รพ.แพทย์ / คดีภาษี รพ.แพทย์ Monday 7, July 2025 ( 09.00 - 16.30 ) Online Seminar via ZOOM เข้าชม ( 27 ) วันที่ 25/06/2025
      โรงพยาบาลเอกชน + แพทย์ บริหารความเสี่ยงคดีอาญา รับมือ การแก้ไขกฎหมาย คดีภาษีที่มีโทษทางอาญา (Criminal Tax Cases)
 วางแผนภาษีโดยการจัดทำสัญญาระหว่างแพทย์แ ละโรงพยาบาล : ร่างสัญญาอย่างไร ให้ RD + ศาล ยอมรับ (Drafting Contract and Tax Planning)
 ผอ.รพ. / ผู้จัดการฝ่ายบัญชี โรงพยาบาล รับมือ TAX AUDIT จากคำพิพากษาฎีกาที่ “แพ้คดี” กรมสรรพากร
 การแก้ไข กม.ภาษี “นำเงินได้กลับเข้าประเทศ” 2568 ยกเว้นภาษีเงินได้ “แพทย์” ข้อแนะนำ Tax Planning
 Update คำพิพากษาฎีกา รพ.เอกชน จ่ายค่าสินไหมทดแทน + Punitive Damages : ความเสี่ยงภาษี
 โรงพยาบาลเอกชน ชนะคดีกรมสรรพากร ในชั้นศาล : ข้อแนะนำ ผู้จัดการฝ่ายบัญชี รพ. ใช้ประโยชน์ทางภาษี
 ผู้บริหาร รพ. + ผู้จัดการฝ่ายบัญชี รพ. รับมือ 2 คำพิพากษาคดีภาษี “เงินเดือน ค่าตอบแทน ผู้บริหาร ลูกจ้าง (แพทย์) สูงเกินสมควร” (ส่วนที่เกินสมควร ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามภาษี)
 ประเด็นการตรวจสอบภาษี โรงพยาบาล เอกชน (Hospital Tax Audit) : ประเด็น รายได้ รายจ่าย ผู้บริหาร ฯลฯ
 ตรวจสอบภาษีราคาโอน (Transfer Pricing Audit) กลุ่มโรงพยาบาลเอกชน และบริษัทในเครือ : RD สนใจอะไร
 Update อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างไทย-บรูไน 2025 : โรงพยาบาลเอกชนไทย + แพทย์ ใช้ประโยชน์อย่างไร?
 การระงับข้อพิพาทกับกรมสรรพากร อุทธรณ์ภาษี การขอคืนภาษี : ประเด็นที่น่าสนใจสำหรับ รพ.เอกชน
 ร่าง พรบ.ขจัดการเลือกปฎิบัติต่อบุคคล (Anti-Discrimination Law) : รพ.เอกชน ใช้ประโยชน์โต้แย้ง กรมสรรพากร ได้อย่างไร?
 
 
 
Connect with us.
  โทรศัพท์ :