รับข่าวสาร ยกเลิกรับข่าวสาร


Update ประเด็นกฎหมายธุรกิจ กฎหมายแรงงาน HR ภาษีสรรพากร ศุลกากร สรรพสามิต ภาษีระหว่างประเทศ อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Tax Agreement : DTA) การร่างสัญญาในแง่มุมต่างๆ และกฎหมายระหว่างประเทศที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ

 
  ตรวจสอบสัญญาธุรกิจ ค้นหาความผิดศุลกากรและค่าสิทธิ Customs Audit from Commercial Contracts 2023 พุธที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 - 16.00 สัมมนา ONLINE ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 5 ) วันที่ 27/05/2023
      Update คำพิพากษาฎีกาศุลกากรปี 2566 : ทิศทางการตรวจสอบ “สัญญาธุรกิจ” ภายหลังกรมศุลกากร ชนะคดี !!
 ร่างและเจรจาสัญญาธุรกิจ (Drafting & Negotiation) ในแง่มุม ศุลกากร และค่าสิทธิ (Royalties)
 ธุรกรรมระหว่างประเทศ เชื่อมโยงค่าสิทธิ (Royalty) ที่กรมศุลกากรเพ่งเล็งตรวจสอบในปี 2023
 สัญญาธุรกิจระหว่างประเทศ ที่ศุลกากรมักตรวจสอบ เช่น Technical Assistance Agreement, Sales of Goods Agreement, Management Service Agreement, Distributorship : ประเด็นที่ “นักกฎหมาย” ไม่ค่อยรู้
 ข้อกำหนดในสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเ ทศ (Sale of Goods Agreement) ที่มักเกิดความเสี่ยงราคาศุลกากร เช่น “การรับประกันสินค้า” (Warranty) หรือ “การรับประกันเพิ่มเติม” (Extended Warranty) “การส่งมอบสินค้า” (Delivery Clause) ข้อตกลงการส่งมอบของในทางการค้าระหว่างประเทศ (International Commercial Term: INCOTERMS)
 ข้อความอันตราย (Dangerous Clause) ในสัญญาธุรกิจ ที่มัก “เตะตา” กรมศุลกากร : Shipping ไม่ค่อยรู้ !!
 แนะนำการร่างข้อสัญญาเกี่ยวกับ “การจ่ายค่าตอบแทน” (Consideration) “การชำระราคาสินค้า” (Payment Term) เพื่อลดความเสี่ยงราคาศุลกากรที่เกี่ยวกับ “ค่าสิทธิ” (Royalty)
 ข้อแนะนำการ “แยก” “รวม” หรือ “กำหนดเงื่อนไข” สัญญา ไม่ให้มีเกิดความเสี่ยงศุลกากร
 
 
  FTA, Customs & RoO 2023 ปัญหาการใช้สิทธิ FTA กฎถิ่นกำเนิด และใบ CO อังคารที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 - 16.30 น. สัมมนา Online ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 104 ) วันที่ 18/05/2023
      Update HS Code version 2022 (New Version) การเปลี่ยนแปลงพิกัดศุลกากร ที่กระทบต่อ FTA RoO
 ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค RCEP : ปัญหาพิกัด HS 2022 กับเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า
 ประเด็นการผ่อนผันใช้เอกสารการรับรองถิ่น กำเนิดสินค้า : ปัญหาการจำแนกพิกัด
 การใช้ Rules Of Origin (RoO) ในการยื่นต้นทุนเพื่อขอ Form CO และการป้องกันการถูก Post Audit
 ความเหมือนและความแตกต่างของ ROO ใน 15 FTA ของไทยกับ ROO ของ RCEP
 ทิศทาง นโยบาย ด่านศุลกากร Post Review และ กองตรวจสอบอากร Post Audit ผู้ประกอบการใช้สิทธิ FTA
 ข้อแนะนำเพื่อรับมือ การยกเลิก Self-Certification, การใช้ AWSC, การยกเลิกการระบุราคาใน FOB ฯลฯ
 ข้อแนะนำการตรวจสอบความถูกต้องของ Form CO ก่อนยิงใบขนฯ
 ปัญหาพิกัดศุลกากรที่ใช้ในการพิจารณาเกณฑ ์ถิ่นกำเนิดสินค้า : HS 2022 และการระบุพิกัด ใน Form D
 ข้อแนะนำบริหารความเสี่ยงการใช้สิทธิลดหร ือยกเว้นภาษีภายใต้ความตกลง FTA ประกาศกระทรวงการคลัง และประกาศกรมศุลกากร : 49 ประเด็นที่ผู้ประกอบการมักผิดพลาด

 
 
  Customs Tariff Classification + HS 2022 การสำแดงพิกัด + พิกัดฮาร์โมไนซ์ใหม่ พฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 09.00 - 12.00 น. สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 14 ) วันที่ 18/05/2023
      Update คำพิพากษาฎีกาคดีพิกัดศุลกากร (Customs Tariff Wining Cases) : เสียดาย ผู้นำเข้า (Importer) ส่งออก ชิปปิ้ง (Shipping) ตัวแทนออกของ (Customs Broker) ที่ปรึกษาฯ ไม่ได้รู้ !!
 ปัญหาการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากร พิกัด HS, AHTN ในทางปฎิบัติ สำหรับ ผู้นำเข้า ส่งออก
 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร กับประเด็นที่ศุลกากรมักเพ่งเล็ง เช่น สินค้านำเข้าที่ไม่ครบสมบูรณ์ สินค้ามีชิ้นส่วนแยกจากกัน และของที่ของรวมหรือของผสม ฯลฯ
 การตีความพิกัด สินค้าที่พิจารณาแล้วว่าสามารถเข้าได้หลายพิกัด / พิกัดสารเคมี / พิกัดเครื่องจักร + Software
 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยๆ ในทางปฎิบัติเกี่ยวกับการสำแดงพิกัด (Common mistakes)
 Update คำพิพากษาคดีพิกัดศุลกากรปี 2566 คำสั่งชี้พิกัดศุลกากร เป็นคำสั่งทางปกครอง : ประเด็นที่น่าสนใจ !
 เทคนิคการระงับข้อพิพาทพิกัดศุลกากร : การวางประกัน การอุทธรณ์ และการฟ้องศาล
 
 
  Winning Tax Cases Benefiting Taxpayers ศุกร์ที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 13.30 - 16.30 สัมมนาออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM เข้าชม ( 26 ) วันที่ 28/04/2023
     เผย คำพิพากษาฎีกาคดีภาษีสรรพากร CIT, VAT, DTA, Transfer Pricing ชนะกรมสรรพากร
สุดยอด CFO บมจ. บริษัทจดทะเบียนฯ ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ช่วยเหลือองค์กร ชนะคดีภาษีสรรพากร ในชั้นศาล
Holding Company ชนะคดีภาษีเงินปันผล (Dividend) ในชั้นศาลฎีกา : ความเหนือชั้น CFO
Unseen Tax Ruling ข้อหารือภาษีสรรพากร เช่น การคำนวณค่าหุ้น หนี้สูญ ผลขาดทุน ส่งเสริมการขาย ฯลฯ
ศาลฎีกาตัดสินให้ผู้เสียภาษีชนะคดี “ผลขาดทุนสะสม” (Losses) : โอกาสผู้เสียภาษีทั่วประเทศ
เผย...คำพิพากษาฎีกา ชนะคดีกรมสรรพากร “รายจ่ายต้องห้าม” “รายจ่ายสวัสดิการพนักงาน” “โบนัส”
Update คดี ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน บริษัทในเครือ กลุ่มบริษัท ช่วง COVID อย่างไร ไม่มีภาระภาษี
คดี Transfer Pricing ธุรกรรมระหว่างบริษัทในเครือ ชนะคดี RD ในชั้นศาล
คำพิพากษาฎีกาที่ คุ้มครองสิทธิผู้เสียภาษี (Taxpayers’ Right Protection) : ใช้ประโยชน์ โต้แย้งสรรพากร
รายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหารงาน ทำไมศาลฎีกา ตัดสินให้ ผู้เสียภาษี ชนะ RD
บริษัท BOI ชนะคดี RD ในชั้นศาล (ชนะทั้ง 2 ศาล) การตีความ “บัตรส่งเสริมการลงทุน” (BOI Certificate)
 
 
  International Tax Hot Topics การจัดเก็บภาษีระหว่างประเทศโฉมใหม่ ! Top-Up Tax ตามหลัก Income Inclusion Rule (IIR) (พฤหัสบดีที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 13.30 - 16.30 น. สัมมนา ONLINE ผ่านระ เข้าชม ( 20 ) วันที่ 28/04/2023
     • การจัดเก็บภาษีระหว่างประเทศโฉมใหม่ ! Top-Up Tax ตามหลัก Income Inclusion Rule (IIR)
• การลงทุนในต่างประเทศของบริษัทไทย (Outbound investment from Thailand) กับผลกระทบ Top-Up Tax
• พระราชกำหนดแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศเกี่ยว กับภาษีอากร (Exchange of Information) : ผลกระทบภาคธุรกิจ หลัง ครม. มีมติ อนุมัติ
• Last Update ฎีกาปี 2565 บริษัทจดทะเบียนฯ ยักษ์ใหญ่ แพ้คดี “ภาษีค่าสิทธิ” (Royalty) กรมสรรพากร
• บริษัท Partially-Owned Parent Entity และบริษัท Ultimate Parent Entity : ประเด็นภาษีระหว่างประเทศ
 
 
  Merger Control, M&A and Filing 2023 ควบรวมกิจการ พรบ.แข่งขันทางการค้าฯ วิทยากร อ. อร่ามศรี รุพันธ์ (อดีต) คณะกรรมการแข่งขันทางการค้า (พุธที่ 31 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 - 12.00 สัมมนาผ่าน ZOOM เข้าชม ( 29 ) วันที่ 28/04/2023
      ข้อแนะนำการวิเคราะห์และประเมิน “ก่อนการรวมธุรกิจ” เพื่อปฏิบัติตาม พรบ.แข่งขันทางการค้า
 รูปแบบการรวมธุรกิจที่ถูกกำกับดูแลตาม พรบ.แข่งขันฯ : M&A, Share/Asset Acquisition, Holding Company, Group Company
 “การแจ้งผลการรวมธุรกิจ” “การยื่นคำขออนุญาตการรวมธุรกิจ” : ปัญหาในทางปฏิบัติ
 วิเคราะห์ขอบเขตตลาดของผู้ประกอบธุรกิจที ่จะรวมธุรกิจกัน : ความหลากหลายตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ และตลาดสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวเนื่อง (Relevant Product Market)
 การยื่นคำขออนุญาตรวมธุรกิจ : ยื่นอย่างไรให้คณะกรรมการแข่งขันทางการค้า พิจารณา ให้รวมธุรกิจ (ประสบการณ์ตรงของวิทยากร)
 เกณฑ์การพิจารณาผู้ประกอบธุรกิจที่มีความ สัมพันธ์กันทางนโยบายหรืออำนาจสั่งการ
 แนวโน้มทิศทางการกำกับดูแลการรวมธุรกิจ ในอนาคต เช่น JV, การตั้งกรรมการไขว้ในกลุ่มบริษัท
 Cross-Border Merger Control การรวมธุรกิจที่มีบริษัทต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง
 เตรียมความพร้อม การรับมือการกำหนดเงื่อนไขหรือมาตรการเยียวยาของคณะก รรมการแข่งขันฯ
 
Connect with us.
  โทรศัพท์ :